จัดระบบความปลอดภัยในโรงเรียน เรื่องใหญ่ที่ต้องจริงจัง
เหตุการณ์ความสูญเสียที่เกิดขึ้นกับเด็กนักเรียนในโรงเรียนในช่วงที่ผ่านมา สะท้อนถึงการขาดการจัดระบบความปลอดภัยภายในโรงเรียน ซึ่งเป็นเรื่องที่ทางสถานศึกษาควรให้ความสำคัญตระหนักและเข้มงวดจริงจังเพื่อไม่ให้เหตุการณ์เกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำเล่า พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 หมวด 7 มาตรา 63 ระบุว่า “โรงเรียนและสถานศึกษา ต้องจัดให้มีระบบงานและกิจกรรมในการแนะแนว ให้คำปรึกษา และฝึกอบรมแก่นักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง เพื่อส่งเสริมความประพฤติที่เหมาะสม ความรับผิดชอบต่อสังคมและความปลอดภัยแก่นักเรียน นักศึกษา ตามหลักเกณฑ์
สร้างจิตสำนึกในการปกป้องคุ้มครองเด็ก
ทุกวันนี้เราจะเห็นพลังของคนในสังคมที่เริ่มตื่นตัว ตระหนักและมีส่วนร่วมต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมมากขึ้น เช่น เมื่อเหตุเกิดพ่อแม่หรือผู้ปกครองทำร้ายเด็กอย่างรุนแรง เพื่อนบ้านหวังดีอยากช่วยเด็ก โพสต์คลิปลงในสื่อออนไลน์มีการแชร์ ส่งต่อไปยังหน่วยงานเพื่อขอความช่วยเหลือเด็ก จนเด็กได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที คำถามที่ตามมาคือ ทำอย่างไรจึงจะทำให้พ่อแม่ผู้ปกครองหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการดูแลเด็กเกิดความตระหนัก ใส่ใจ และมีจิตสำนึกที่มากขึ้นในการดูแล ปกป้องคุ้มครองเด็กให้ปลอดภัย มากกว่าการทำร้ายเด็กด้วยความรุนแรง ทีมงานมูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก ได้มีโอกาสสัมภาษณ์ผู้รู้ "คุณสรรพสิทธิ์ คุมพ์ประพันธ์" ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ในการทำงานเพื่อเด็กมากว่า 30 ปี
“องค์กรปกป้องสิทธิเด็ก” ห่วงยุค “มนุษย์กล้อง” ครองเมือง!ถ่ายโพสต์แชร์คลิปเด็ก
“องค์กรปกป้องสิทธิเด็ก” ห่วงยุค “มนุษย์กล้อง” ครองเมือง! ถ่ายโพสต์แชร์คลิปเด็ก ถือเป็นการละเมิดสิทธิ เพิ่มความเสี่ยงไม่ปลอดภัยในการใช้ชีวิต ชี้ผิดกฎหมายมีโทษอาญา เตือนผู้ใช้โซเชียลเข้าใจหลักสิทธิมนุษยชน
ชายแปลกหน้าเข้าโรงเรียน ป้องกันอย่างไรดี
จากกรณีชายแปลกหน้า เข้าไปในร.ร. และลวนลามนักเรียนชั้นป.2 ที่ปรากฏในข่าวนั้น มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก มีคำแนะนำเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว ดังนี้
แนะประนีประนอม ทางออก”ลัก(รัก)เด็ก”
นับเป็นเหตุการณ์สะเทือนใจทุกฝ่าย ที่เกี่ยวข้อง ทั้งพ่อแม่ปู่ย่าตายายที่ สูญเสียบุตรสาวและหลานสาววัยแบเบาะไปเมื่อ 4 ปีก่อนหลังถูกลักพาตัว ครอบครัว ผู้ลักพาตัวเด็กซึ่งมีความรักความผูกพันกับเด็ก รวมถึงเด็กหญิงตัวน้อยวัย 4 ขวบที่ต้องจาก ผู้เลี้ยงดูสู่อ้อมอกบุพการีที่แท้จริงซึ่งเด็กหญิงไม่คุ้นเคยในอีก 2 ปีนับจากนี้
‘สิทธิเด็ก’ เรื่องของเด็กตัวเล็กที่ไม่ควรมองข้าม
ใช่แต่ผู้ใหญ่เท่านั้นที่มี 'สิทธิ' หากแต่ 'เด็กตัวเล็กๆ' ก็มีสิทธิเช่นกันด้วยเหตุนี้ ทั่วโลกจึงร่วมลงนามให้วันที่ 20 พฤศจิกายนของทุกปี เป็น 'วันสิทธิเด็กสากล' เพื่อให้ผู้ใหญ่ทุกคนหันมาใส่ใจและเคารพกับสิทธิของเด็กกันมากขึ้น...
ทำอย่างไรจะป้องกันไม่ให้แม่ก่ออาการ Munchausen syndrome by proxy (MSBP)แก่ลูก
จากข่าวหญิงชาวอเมริกันจากรัฐนิวยอร์กอายุ 27 ปี ถูกศาลตัดสินลงโทษจำคุกเป็นเวลา 20 ปี เมื่อวันพุธ โทษฐานฆ่าลูกชายวัย 5 ขวบของตัวเองด้วยการให้เกลือทางสายยางเกินขนาดจนตาย