Infographic เด็ก ๆ จะรับมือ Cyberbullying อย่างไร?
ราชบัณฑิตสภา ให้คำนิยาม Cyber Bullying ว่าคือ "การระรานทางไซเบอร์"
ราชบัณฑิตสภา ให้คำนิยาม Cyber Bullying ว่าคือ "การระรานทางไซเบอร์"
ปัจจัยที่ทำให้พ่อแม่เลี้ยงดูและปฏิบัติผิดๆกับเด็ก เมื่อเด็กได้รับการเลี้ยงดูและการปฏิบัติที่ผิดๆ อย่างต่อเนื่อง จนนำไปสู่การทำร้ายร่างกายหรือใช้ความรุนแรงทุกรูปแบบจากผู้ปกครอง เด็กๆ ต้องใช้ความสามารถเท่าที่ตนมีอยู่ในการจัดการกับปัญหาและเพื่อเอาตัวอยู่รอด
เมื่อเด็กๆถูกกระทำความรุนแรง มีบุคคลจากหลายภาคส่วนที่จะเข้ามาช่วยเหลือให้เด็กได้รับความปลอดภัย ได้รับการบำบัดฟื้นฟูเยียวยา ได้รับการส่งเสริมพัฒนา จนสามารถกลับไปใช้ชีวิตอยู่ในสังคมต่อไปได้ เราไปดูกันค่ะว่า
บทบาทครู กับการช่วยเหลือเด็กที่ถูกกระทำความรุนแรง เมื่อทราบว่าเด็กถูกทำร้ายไม่ว่าตัวเด็กมาเล่าเองหรือครูสังเกตเห็นความผิดปกติ สิ่งแรกคือครูต้องแสดงให้เด็กรับรู้ว่าครูเชื่อเด็ก แม้จะยังไม่สามารถสืบค้นว่าเป็นเรื่องจริงหรือไม่ก็ตาม
ปกป้องเด็กจากความรุนแรง ในช่วงโควิด19 ระบาด 1.พ่อแม่ต้องสตรอง! พ่อแม่ต้องดูแลตัวเองให้แข็งแรงทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต เพื่อฟันฝ่าวิกฤติในครั้งนี้
การปกป้องคุ้มครองเด็ก ให้ปลอดภัยจากความรุนแรงทุกรูปแบบ เป็นหน้าที่ของพวกเรา (ผู้ใหญ่) ทุกคนในสังคม เพื่อให้เด็กเติบโตขึ้นอย่างอยู่ดี
ความรุนแรงที่เกิดขึ้นกับเด็ก มักมาจาก ความคิด ความเชื่อที่ผิดๆของผู้ใหญ่ที่ดูแลเด็ก ส่งผลให้เกิดการปฏิบัติต่อเด็กด้วยความรุนแรงทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงการปล่อยปละละเลยเด็ก
หลายครั้งที่ความรุนแรงกับเด็กเกิดขึ้นวนเป็นวัฎจักร จากรุ่นสู่รุ่น ส่งต่อกันเพราะแบบอย่างที่เห็น และจากประสบการณ์ที่เคยถูกกระทำมาก่อน ความรุนแรงที่เกิดขึ้นมาจากหลายปัจจัย หากเรารู้เท่าทันและสามารถปรับเปลี่ยนแก้ไข
ผลกระทบของความรุนแรงต่อเด็ก อาจจะไม่ใช่บาดแลทางกาย แต่บาดแผลทางใจจะได้รับผลกระทบไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน พญ.เบญจพร ตันตสูติ จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น ‘เพจเข็นเด็กขึ้นภูเขา’
พ่อแม่ผู้ปกครองจะป้องกันลูกของตนเองไม่ให้ถูกรังแก และลูกไม่ไปรังแกผู้อื่นได้อย่างไรบ้าง ติดตามรายละเอียดได้ในอินโฟกราฟิก เพื่อร่วมกันหยุดความรุนแรงต่อเด็กทุกรูปแบบ