About admin

This author has not yet filled in any details.
So far admin has created 163 blog entries.

หยุด ลงโทษโดยใช้อารมณ์

2018-03-19T22:14:45+07:0023 มกราคม 2017|การป้องกันการใช้ความรุนแรงต่อเด็ก|

ตอนที่ 2 หยุด ลงโทษโดยใช้อารมณ์ เช่น ด่าทอ หรือทุบตี เพราะจะเป็นการทำร้ายทั้งร่างกายและจิตใจ ส่งผลให้เด็กจดจำและนำความรุนแรงเหล่านั้นไประบายออกสู่คนอื่นที่เขาไม่พอใจ ควรอธิบายด้วยเหตุผลว่าลูกทำผิดอะไร และให้เด็กได้คิดและทบทวนว่า ตัวเขาจะสามารถแก้ไขปัญหานั้นได้อย่างไร

หยุด!! ทะเลาะกันต่อหน้าลูก

2018-03-19T22:22:22+07:0023 มกราคม 2017|การป้องกันการใช้ความรุนแรงต่อเด็ก|

หยุด!! ทะเลาะกันต่อหน้าลูก เพราะเด็กอาจจะกลายเป็นเด็กเก็บความรู้สึก ก้าวร้าว ไม่เชื่อใจผู้อื่น ไม่ร่าเริงแจ่มใส เหมือนปกติ และอาจจะแสดงพฤติกรรม ที่ก้าวร้าวต่อคนในครอบครัว คนรอบข้าง รวมถึงคุณครูและเพื่อนๆ ที่โรงเรียน

หยุด!!..ซื้อของเล่นรุนแรงให้ลูก

2018-03-19T22:17:49+07:0023 มกราคม 2017|การป้องกันการใช้ความรุนแรงต่อเด็ก|

เด็กสุขใจเพราะบ้านนี้ไม่มีความรุนแรง ตอนที่ 4 หยุด!!..ซื้อของเล่นรุนแรงให้ลูกเพราะอาจทำให้เด็กซึมซับพฤติกรรมความรุนแรง และได้รับอันตรายจากของเล่นได้ ควรจะหาของเล่น

เด็กสุขใจ..เพราะบ้านนี้ไม่มีความรุนแรง

2018-03-19T22:01:19+07:0023 มกราคม 2017|การป้องกันการใช้ความรุนแรงต่อเด็ก|

หยุด ให้ลูกดูรายการทีวี เล่นเกมส์ที่มีเนื้อหารุนแรง และไม่ปล่อยให้ลูกใช้เวลาอยู่กับโซเชียลเน็ตเวิร์ค เกินความจำเป็น เพราะส่งผลเสียต่อเด็กมากมาย ไม่ว่าเป็นร่างกายไม่พัฒนาตามวัย

ศักยภาพพ่อแม่ ผู้ดูแลเด็ก

2018-03-18T07:21:19+07:0023 มกราคม 2017|มาตรฐานขั้นต่ำในการอุปการะเลี้ยงดูเด็ก|

ปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญที่ครอบครัวหรือผู้ดูแลเด็กควรมีเพื่อดูแลปกป้องคุ้มครองเด็ก ให้เด็กๆเติบโตขึ้นมาอย่างปลอดภัย และมีคุณภาพ คือ ความผูกพันที่มั่นคง (Secure Attachment) ความไว้วางใจ (Trust) และการรับรู้ถึงอารมณ์ความรู้สึกของผู้อื่น (Empathy) ซึ่งการสร้าง 3 สิ่งนี้พ่อแม่หรือผู้ดูแลเด็ก ต้องมีสิ่งต่อไปนี้ คือ

รายงานผลการดำเนินโครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่และผู้ปฏิบัติงานในการคุ้มครองเด็กระดับตำบล

2018-02-01T01:26:45+07:0023 มกราคม 2017|รายงานผลการดำเนินงาน|

ตามที่มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็กร่วมกับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยบ้านพักเด็กและครอบครัว กรมกิจการเด็กและเยาวชน ดำเนินโครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่และผู้ปฏิบัติงานในการคุ้มครองเด็กระดับตำบล ในพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี สุพรรณบุรี

รายงานการดำเนินงานฝ่ายบำบัดฟื้นฟูเด็กและครอบครัว 2559

2021-11-11T17:37:50+07:0023 มกราคม 2017|รายงานผลการดำเนินงาน|

ฝ่ายบำบัดฟื้นฟูเด็กและครอบครัว มีภารกิจหลักในการบำบัดฟื้นฟูเด็กและครอบครัวที่ได้รับผลกระทบจากการทารุณกรรมเพื่อให้บรรลุผลดังนี้ คือ การป้องกันการถูกกระทำซ้ำ เพื่อให้เด็กเกิดความรู้สึกมั่นคงปลอดภัยทั้งในระยะวิกฤตและในระยะยาว การบำบัดฟื้นฟูผลกระทบที่เกิดจากการถูกทำร้าย

รายงานการดำเนินงานฝ่ายพัฒนาเด็กและครอบครัว ปี2559

2018-02-01T01:41:55+07:0023 มกราคม 2017|รายงานผลการดำเนินงาน|

ฝ่ายพัฒนาเด็กและครอบครัวทำอะไร? ภารกิจของฝ่ายพัฒนาเด็กและครอบครัว ทำหน้าที่ผลักดันและพัฒนาให้เกิดระบบและกลไกในการเฝ้าระวัง และป้องกันภัยอันตรายต่างๆที่จะเกิดกับเด็ก ทั้งในโรงเรียนและชุมชน รวมถึงการสนับสนุนผลักดันให้มีการส่งเสริมพัฒนาเด็กและครอบครัวในโรงเรียนและชุมชน

รายงานการดำเนินงาน ปี 2559

2018-02-01T01:41:44+07:0018 มกราคม 2017|รายงานผลการดำเนินงาน|

ศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็กเริ่มดำเนินงานตั้งแต่ปี พ.ศ.2524 ต่อมาในปี พ.ศ.2539 จดทะเบียนเป็นมูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก   มูลนิธิฯ

โครงการ “พื้นที่นี้ให้ (กล่อง)น้อง”

2018-03-04T22:13:57+07:0018 มกราคม 2017|โครงการปัจจุบัน|

เพราะเราเชื่อว่าการทำงานเพื่อปกป้องคุ้มครองและบำบัดฟื้นฟูเด็กหนึ่งคนที่ได้รับผลกระทบจากการใช้ความรุนแรงทุกรูปแบบ ต้องใช้ทรัพยากรจำนวนมหาศาล เพื่อทำให้เด็กสามารถฟื้นตัวและกลับมาใช้ชิวิตได้อย่างปกติในสังคม

E-magazine ฉบับที่ 3 “สิทธิเด็ก”

2021-11-10T20:05:09+07:0017 มกราคม 2017|E-Newsletter|

E-magazine ฉบับที่ 3 นี้มาส่งท้ายปีเก่าและต้อนรับปีใหม่ในคราวเดียวกัน ด้วยการรวบรวมเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับเด็กในหลายเรื่อง อาทิ "ประเทศนี้ไม่ตีเด็ก" เพื่อให้เด็กใช้ชีวิตอย่างมีความสุขปราศจากการลงโทษทางกายและทำให้รู้สึกด้อยคุณค่า

สร้างจิตสำนึกในการปกป้องคุ้มครองเด็ก

2020-02-18T11:42:21+07:0015 ธันวาคม 2016|เรื่องเล่าของสังคม|

ทุกวันนี้เราจะเห็นพลังของคนในสังคมที่เริ่มตื่นตัว ตระหนักและมีส่วนร่วมต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมมากขึ้น เช่น เมื่อเหตุเกิดพ่อแม่หรือผู้ปกครองทำร้ายเด็กอย่างรุนแรง เพื่อนบ้านหวังดีอยากช่วยเด็ก โพสต์คลิปลงในสื่อออนไลน์มีการแชร์ ส่งต่อไปยังหน่วยงานเพื่อขอความช่วยเหลือเด็ก

Go to Top