โปสเตอร์รณรงค์ยุติความรุนแรงต่อเด็ก
ของขวัญวันเด็ก 2568 ที่มีความหมายสำคัญสำหรับเด็กในประเทศไทย มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก
ของขวัญวันเด็ก 2568 ที่มีความหมายสำคัญสำหรับเด็กในประเทศไทย มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก มุ่งคุ้มครองเด็กทุกคน ให้ปลอดภัย พ้นจากอันตราย สนับสนุนการเติบโต พัฒนาการและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในสังคม
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 หมวด 7 มาตรา
มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก จัดกิจกรรมกับเด็กและเยาวชนในหลายพื้นที่ ได้รวบรวมความคิดเห็นของเด็กและเยาวชนถึงสิ่งที่ทำให้เด็กๆ มีความสุขในบ้าน และสิ่งที่ทำให้ไม่มีความสุข ซึ่งส่วนใหญ่สะท้อนถึงพฤติกรรมหรือการกระทำของพ่อแม่หรือผู้ใหญ่ในบ้าน
เพราะความรุนแรงส่งผลกระทบต่อเด็กในระยะยาว ก่อให้เกิดความเครียด สะสมเป็นปัญหาสุขภาพกายและสุขภาพจิต การเสริมปัจจัยป้องกัน เพื่อให้เด็กมีเสมือนภูมิต้านทานความเครียดและความรุนแรง ควรเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก
เด็กทุกคนจะต้องได้รับการจดทะเบียนการเกิดและได้รับสัญชาติ ซึ่งเป็นสิทธิตามหลักสิทธิมนุษยชน และสิทธิเด็ก ดังนี้ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน Universal
เด็กทุกคนมีสิทธิได้รับการคุ้มครองจากการกระทำความรุนแรงทุกรูปแบบ ทุกเวลาและทุกสถานที่ พ่อแม่จึงควรจัดการ ควบคุม และแสดงออกอารมณ์ของตนเองอย่างเหมาะสม เพื่อไม่ให้อารมณ์เหล่านั้นกลายเป็นต้นเหตุของการใช้ความรุนแรงต่อเด็กและละเมิดต่อสิทธิเด็ก
“เลี้ยงลูกอย่างไรไม่ใช้ความรุนแรง” ปรับทัศนคติ เปลี่ยนมุมมองทัศนคติใหม่ที่มีต่อเด็ก (จากเดิมที่มองว่าเด็กเป็นสมบัติของพ่อแม่ เป็นที่รองรับอารมณ์ ทำให้เด็กเจ็บ
เด็กทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครองจากผู้ใหญ่ทุกคนในสังคม เพื่อเติบโตขึ้นอย่างอยู่ดี มีสุข และปลอดภัย แต่หากเด็กๆ ถูกกระทำด้วยความรุนแรง
รับฟัง “เสียงของเด็ก” หลักการอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กที่ประเทศไทยร่วมลงนาม ระบุไว้ว่า 'เด็กมีสิทธิในการแสดงออกความคิดเห็น และมีส่วนร่วมในทุกเรื่องที่ส่งผลกระทบถึงชีวิตและอนาคตของพวกเขา' การรับฟัง
“ทอดทิ้งเด็ก” = “ความรุนแรง” การกระทำความรุนแรงต่อเด็ก ไม่ใช่มีเพียงแค่ การทำร้ายร่างกาย
‘เด็ก’ ทุกคนไม่ว่าจะเป็นลูกหลาน หรือเด็กที่ใดๆ ก็ตาม ล้วนเป็น ‘มนุษย์’ เช่นเดียวกัน